รายชื่อสมาชิก
นายปัทวีศักดิ์ ศรีนัครินทร์ เลขที่ 1
นายสิทธิศักดิ์ อันภักดี เลขที่ 2
นายสืบตระกูล กิจสาลี เลขที่ 4
นางสาวอนันญา ประทุมพันธ์ เลขที่ 15
นางสาวมณีฉาย พิมพ์อินทร์ เลขที่ 17
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
วัฒนธรรมของสิงคโปร์
ประชากรสิงคโปร์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ
อีกทั้งส่วนใหญ่ยังยึดถือธรรมเนียมปฏิบัติดั้งเดิม
ทำให้สิงคโปร์มีวัฒนธรรมหลากหลาย ทั้งทางด้านอาหาร การแต่งกาย
ตลอดจนการเซ่นไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ และความเชื่อในเรื่องเทพเจ้าที่แตกต่างกันไป
ชาวจีนส่วนมากบูชาเจ้าแม่กวนอิมธิดาแห่งความสุข กวนอูเทพเจ้าแห่งความยุติธรรม
รวมถึงเทพเจ้าจีนองค์อื่นๆ ขณะที่ชาวฮินดูบูชา
เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ เป็นต้น
เทศกาล สำคัญของสิงคโปร์ ส่วนมากมีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนา เริ่มตั้งแต่เทศกาลตรุษจีน (Chinese New Year) ในเดือนกุมภาพันธ์ ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนจะจัดงานเซ่นไหว้เทพเจ้าและงานรื่นเริงสนุกสนาน อื่นๆ โดยรัฐบาล
เทศกาล สำคัญของสิงคโปร์ ส่วนมากมีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนา เริ่มตั้งแต่เทศกาลตรุษจีน (Chinese New Year) ในเดือนกุมภาพันธ์ ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนจะจัดงานเซ่นไหว้เทพเจ้าและงานรื่นเริงสนุกสนาน อื่นๆ โดยรัฐบาล
ประวัติประเทศสิงคโปร์
สิงคโปร์
เป็นที่รู้จักกันครั้งแรกในสมัยศตวรรษที่ 3
ของชาวจีน พวกเขาเรียกสิงคโปร์ว่า “พู เลา ชุง” (เกาะปลายคาบสมุทร”)
ณ เวลานั้นไม่ค่อยมีใครทราบประวัติของเกาะแห่งนี้มากนัก
ในศตวรรษที่ 14 สิงคโปร์ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรศรีวิชัย
( ( Sri Vijayan Empire ) และรู้จักกันในชื่อของเทมาเซ็ค
(เมืองแห่งทะเล สิงคโปร์ตั้งอยู่ตรงปลายแหลมมลายู
ซึ่งเป็นจุดนัดพบทางธรรมชาติของเส้นทางเดินเรือ เกาะแห่งนี้จึงกลายเป็นจุดแวะพักของเรือเดินสมุทรหลายประเภท
ตั้งแต่เรือสำเภาจีน เรืออินเดีย เรือใบอาหรับ และเรือรบของโปรตุเกสไปจนถึงเรือใบบูจินีส
การเมืองการปกครองของสิงโปร์
สิงคโปร์ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด (The Constitution) แบ่งอำนาจการปกครองเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ระบบการศึกษาของสิงคโปร์
ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่านักเรียนแต่ละคนนั้นมีความถนัดและความสนใจแตกต่างกันไปในแบบฉบับของตนเอง
ดังนั้นเราจึงจัดระบบการศึกษาที่ยืดหยุ่นเพื่อให้นักเรียนแต่ละคนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่
เศรษฐกิจของสิงคโปร์
ขนาดเศรษฐกิจของสิงคโปร์วัดจากมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
(Gross Domestic Products : GDP) ปี 2549 ประมาณ 1.3 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สูงเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน รองจากอินโดนีเซียและไทย แต่สิงคโปร์มีจำนวนประชากรน้อยที่สุดในภูมิภาคเพียง 4.5 ล้านคน ทำให้รายได้เฉลี่ยของประชากรวัดจาก GDP ต่อหัวสูงถึง 29,474 ดอลลาร์สหรัฐฯ สูงกว่าไทยเกือบ 10 เท่า
(Gross Domestic Products : GDP) ปี 2549 ประมาณ 1.3 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สูงเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน รองจากอินโดนีเซียและไทย แต่สิงคโปร์มีจำนวนประชากรน้อยที่สุดในภูมิภาคเพียง 4.5 ล้านคน ทำให้รายได้เฉลี่ยของประชากรวัดจาก GDP ต่อหัวสูงถึง 29,474 ดอลลาร์สหรัฐฯ สูงกว่าไทยเกือบ 10 เท่า
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)